Shopee กับกลยุทธ์การเติบโต ถ้าหากจะพูดถึง การซื้อ-ขายสินค้าออนไลน์ ในยุคนี้ เชื่อว่าชื่อแรก ๆ ที่หลาย ๆ คน คงนึกถึง คงหนีไม่พ้นแอปพลิเคชั่น อีคอมเมิร์ซ 2 เจ้าใหญ่อย่างช้อปปี้ (Shopee) และลาซาด้า (Lazada) เป็นแน่นอน สล็อต ฟรีเครดิต
แต่สิ่งที่หลายคน อาจไม่ทันสังเกต ก็คือ ตลอด 5 ปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่ ช้อปปี้เริ่มทำธุรกิจ ในประเทศไทย ในปี 2558 ช้อปปี้ ได้มีธุรกิจที่เติบโตแรง แซงลาซาด้า ขึ้นมาเป็นผู้นำ ในตลาดอีคอมเมิร์ซ ของทั้งประเทศไทย และอาเซียนแล้วด้วย
โดยในประเทศไทยเอง ข้อมูลล่าสุด จากไตรมาส 2 ปีนี้ ชี้ให้เห็นว่า ช้อปปี้ เป็นแพลตฟอร์ม อีคอมเมิร์ซ ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในไทยกว่า 47.2 ล้านราย/เดือน ส่วนลาซาด้า ที่เคยเป็นเจ้าตลาด อีคอมเมิร์ซในไทย มาเนินนาน ปัจจุบันตกไปเป็นอันดับ 2 มีผู้ใช้เฉลี่ย 35.2 ล้านราย/เดือน ซึ่งจะน้อยกว่าช้อปปี้กว่า 12 ล้านราย SA Gaming
ส่วนในภูมิภาคอาเซียน ที่ทั้งสองเจ้าแข่งกันอยู่ใน 6 ตลาด ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ก็ปรากฏว่า ยอดดาวน์โหลดแอปฯ ของช้อปปี้บนมือถือ ทั้งแอนดรอยด์ และไอโฟน แซงยอดดาวน์โหลด ของลาซาด้าไปแล้วในทั้ง 6 ประเทศ
โดยสิ่งที่ทำให้ช้อปปี้ ที่เข้ามาสู่สมรภูมินี้ ช้ากว่าลาซาด้าถึง 3 ปี สามารถแซงมาเป็นเบอร์ 1 ในภูมิภาคได้ เกิดจากกลยุทธ์การเติบโต ที่แตกต่างจาก ลาซาด้าหลัก ๆ 3 เรื่องด้วยกัน
เรื่องแรก คือ การที่ช้อปปี้ เลือกที่จะสร้างฐานผู้ใช้งาน โดยเน้นไปที่ โทรศัพท์มือถือ ตั้งแต่ต้น ดังนั้น เมื่อเริ่มเข้ามาทำธุรกิจ ในกลุ่มอาเซียน ช้อปปี้จึงมุ่งเน้น ไปที่การพัฒนาแอปพลิเคชั่น ของตัวเองทันที เพราะเชื่อว่าการเติบโตและลูกค้าในอนาคต จะอยู่ในมือถือนั่นเอง pgslot
ในขณะที่ลาซาด้า ซึ่งเริ่มเข้ามาทำธุรกิจในอาเซียนก่อนตั้งแต่ปี 2555 เริ่มต้นจากการมุ่งพัฒนาเว็บไซต์ และเน้นไปที่ลูกค้าที่ซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์ก่อน
ด้วยเหตุนี้ เมื่อจำนวนผู้ใช้โทรศัพท์มือถือในอาเซียนเติบโตอย่างก้าวกระโดดในช่วง 4-5 ปีหลัง จึงทำให้ช้อปปี้เติบโตเร็วตามไปด้วย
อีกเรื่องหนึ่ง คือกลยุทธ์ของช้อปปี้ ที่เริ่มต้นจากการเป็นตลาด (marketplace) จับคู่ผู้ซื้อ และผู้ขาย ระหว่างกัน โดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว กับกระบวนการ จัดการสินค้า และไม่ต้องมีโกดัง ทำให้ช้อปปี้เติบโตได้ไวกว่าในช่วงต้น (ช้อปปี้เพิ่งจะเปิดตัวคลังสินค้า แห่งแรกในไทยในปี 63 มานี้เอง หลังจากทำธุรกิจในไทยมา 5 ปี) slot
ในขณะที่ ลาซาด้า ได้ใช้กลยุทธ์ ของการเติบโตตรงข้ามกับช้อปปี้ นั่นก็คือ ลาซาด้าเริ่มต้นการทำธุรกิจโดยยึดโมเดลแบบแอมะซอน (Amazon) และอาลีบาลา (Alibaba) ที่บริหารจัดการการขนส่งสินค้าทั้งกระบวนการ ทำให้ ลาซาด้า ต้องมีโกดังสินค้าตั้งแต่ต้น
และเติบโตได้ช้ากว่าเนื่องจากติดข้อจำกัดในการขยายคลังสินค้า ในขณะที่ฟังก์ชั่นการเป็น marketplace ลาซาด้าเพิ่งจะมาพัฒนาในช่วงหลัง กลยุทธ์การตอบโตที่ตรงข้ามกันแบบนี้เอง ที่ทำให้ช้อปปี้เติบโตได้เร็วกว่า
และสุดท้ายคือเรื่องการให้ความสำคัญกับการให้บริการที่เหมาะกับผู้ใช้ในแต่ละประเทศ หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า localization
เริ่มที่ตัวแอปพลิเคชั่น ที่ช้อปปี้พัฒนาแอปฯ แยกกันใน 6 ประเทศอาเซียน ทำให้แอปฯ ของช้อปปี้มีฟังก์ชั่นที่ถูกใจผู้ใช้ในแต่ละประเทศ เช่นแอปฯ ช้อปปี้ของไทยจะมีฟังก์ชั่นให้กดไลค์ซึ่งคนไทยชอบ ซึ่งแอปฯ ช้อปปี้ของประเทศอื่นอาจไม่มี แต่ก็จะมีฟังก์ชั่นอื่นๆ ที่คนในประเทศนั้นๆ ชอบแทน
ในขณะที่แอปฯ ของลาซาด้า มีฟังก์ชั่นที่เหมือนกันหมดไม่ว่าจะโหลดจากประเทศไหน ต่างกันเพียงเรื่องภาษาเท่านั้น joker gaming
ในแง่นี้ แอปฯ ช้อปปี้ในไทย จึงถูกพัฒนามาให้ถูกใจคนไทยโดยเฉพาะ ในขณะที่แอปฯ ของลาซาด้าไม่ได้เป็นเช่นนั้น เนื่องจาก ยังต้องพัฒนา ให้มีเรื่องของฟังก์ชั่น ที่ถูกใจผู้ใช้ในประเทศอื่นด้วย ซึ่งคนไทยอาจไม่ได้ชอบฟังก์ชั่นเหล่านั้น
นอกจากนี้ แคมเปญการตลาดต่างๆ ของช้อปปี้ ก็ยังพยายามออกแบบให้เหมาะสม กับแต่ละตลาดอีกด้วย
อย่างในไทยเองที่ผ่านมาก็มีการจ้างพรีเซ็นเตอร์อย่าง ณเดช-ญาญ่า รวมถึง แบมแบม GOT7 ซึ่งสามาถเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ในไทยได้ และยังให้ภาพที่น่าเชื่อถือกับแบรนด์ด้วย สล็อต
นอกจากนี้ยังมีการจ้าง นักฟุตบอลระดับโลกอย่าง คริสเตียโน โรนัลโด มาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้ช้อปปี้ ในระดับภูมิภาคด้วย ซึ่งก็ทำให้ช้อปปี้สามารถขยายฐานกลุ่มผู้ใช้ ไปยังกลุ่มผู้ชาย ในภูมิภาคอาเซียน ได้มากขึ้นด้วย
การเติบโต โดยมุ่งไปที่ กลุ่มผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ (mobile first) มากกว่าเน้นเว็บไซต์ รวมถึง กลยุทธ์การเติบโตที่เน้นการเป็นตลาด (marketplace) ระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อ มากกว่าที่จะบริหาร จัดการสินค้า ทั้งระบบ และการให้ความสำคัญ กับการมอบบริการ ที่เหมาะกับผู้ใช้ แต่ละประเทศด้วย (localization)
โดยทั้ง 3 กลยุทธ์เด่น ๆ นี้ จึงเป็น 3 ปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้ช้อปปี้สามารถขึ้นมาเป็นเบอร์หนึ่งแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซ เหนือลาซาด้าได้ แม้ว่าจะเข้าสู่ธุรกิจนี้ช้ากว่าถึง 3 ปี
แต่แม้ว่าตอนนี้ช้อปปี้จะเป็นเบอร์หนึ่งในตลาดอาเซียนและไทย แต่ก็อาจไม่ได้หมายความว่าช้อปปี้จะกลายเป็นผู้ชนะเกมนี้ในที่สุดเสมอไป
เพราะตลอดเวลา 5 ปีที่ช้อปปี้เข้ามาทำตลาดในไทย ยังไม่เคยมีปีไหนกำไรเลย และช้อปปี้ (ประเทศไทย) ขาดทุนไปเป็นเงินรวมแล้วกว่า 1.1 หมื่นล้านบาท
ในขณะที่ลาซาด้าก็สถานการณ์ไม่ต่างกันนัก โดยกลุ่มอาลีบาบาที่เป็นเจ้าของลาซาด้าต้องลงทุนกับลาซาด้าในภูมิภาคอาเซียนไปรวมแล้วกว่า 4,000 ล้านดอลลาร์ (ประมาณ 120,000 ล้านบาท) โดยที่ ยังไม่มีแนวโน้ม จะได้กำไรกลับคืนมาอีกด้วย
ในมุมหนึ่ง เกมนี้จึงเป็นเกมที่จะวัดใจ ระหว่าง สองผู้ เล่นยักษ์ใหญ่ ที่สายป่านยาวทั้งคู่ ระหว่าง ช้อปปี้ที่มีกลุ่ม Sea Group จากสิงคโปร์หนุนหลัง (ชื่อเดิมคือการีน่า ประสบความสำเร็จอย่างสูงจากธุรกิจเกม) และลาซาด้า ที่มียักษ์ใหญ่จากจีนอย่างอาลีบาบาเป็นเจ้าของ ว่าใครจะใจถึง ยอมทนเผาเงินจนเป็นผู้ชนะในท้ายที่สุดได้นานกว่ากัน Slot
อัพเดทล่าสุด : 23 พฤษภาคม 2021 (ข้อมูลล่าสุดปี 2021)